ปฏิทิน


Code Calendar by zalim-code.com

วันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Constructivism is a theory of knowledge (epistemology) [1] that argues that humans generate knowledge and meaning from an interaction between their experiences and their ideas. During infancy, it is an interaction between their experiences and their reflexes or behavior-patterns. Piaget called these systems of knowledge schemata. Constructivism is not a specific pedagogy, although it is often confused with constructionism, an educational theory developed by Seymour Papert, inspired by constructivist and experiential learning ideas of Jean Piaget. Piaget's theory of constructivist learning has had wide ranging impact on learning theories and teaching methods in education and is an underlying theme of many education reform movements. Research support for constructivist teaching techniques has been mixed, with some research supporting these techniques and other research contradicting those results
Constructivism คือทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา) [1] ที่โต้แย้งว่ามนุษย์สร้างความรู้และความหมายจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์และความคิดของพวกเขา ในช่วงวัยทารกก็คือปฏิสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์และ reflexes ของพวกเขาหรือลวดลาย - พฤติกรรม Piaget เรียกว่าระบบเหล่านี้ของ Schemata ความรู้ Constructivism ไม่ได้สอนเฉพาะแม้ว่าจะมักจะสับสนกับ constructionism, ทฤษฎีการศึกษาการพัฒนาโดย Seymour Papert, แรงบันดาลใจจากคอนสตรัคติและความคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ของ Jean Piaget Piaget ทฤษฎีของการเรียนรู้คอนสตรัได้มีผลกระทบตั้งแต่กว้างในการเรียนรู้ทฤษฎีและวิธีการสอนในการศึกษาและเป็นชุดรูปแบบพื้นฐานของการเคลื่อนไหวการปฏิรูปการศึกษาหลาย การสนับสนุนการวิจัยเชิงเทคนิคการสอนคอนสตรัได้รับการผสมกับงานวิจัยที่สนับสนุนเทคนิคเหล่านี้และงานวิจัยอื่น ๆ contradicting ผลลัพธ์เหล่านั้นบางส่วน

Constructivism

Constructivism is a theory of knowledge (epistemology) [1] that argues that humans generate knowledge and meaning from an interaction between their experiences and their ideas. During infancy, it is an interaction between their experiences and their reflexes or behavior-patterns. Piaget called these systems of knowledge schemata. Constructivism is not a specific pedagogy, although it is often confused with constructionism, an educational theory developed by Seymour Papert, inspired by constructivist and experiential learning ideas of Jean Piaget. Piaget's theory of constructivist learning has had wide ranging impact on learning theories

ขั้นตอนการสมัคร E-mail

ขั้นตอนการสมัคร Gmail

Gmail เป็นเว็บไซต์ของบริษัท Google (www.google.com) ที่ให้บริการลงทะเบียนสร้างตู้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ฟรี ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย โดยให้พื้นที่เก็บข้อมูลมากถึง 2 GB. มีเครื่องมือในการจัดการ e-mail ที่มีประสิทธิภาพสูง การเข้าถึงตู้จดหมายทำได้รวดเร็ว (คุณสมบัติหลัก ๆ ดูรายละเอียดจากหน้าเว็บไซต์ของ Gmail) ขั้นตอนการลงทะเบียนขอใช้สะดวกและง่าย เป็นภาษาไทย จึงมีผู้นิยมทะเบียนใช้ e-mail กับ Gmail เป็นจำนวนมาก
โดยการกรอก URL คือ www.gmail.com หรือ gmail.google.com หรือ gmai.com ที่ address bar แล้ว Enter จะแสดงหน้าจอภาพเว็บไซต์ Gmail  จากนั้นให้เลือกลิงค์ ลงทะเบียนใช้ Gmail เพื่อลงทะเบียนสร้าง e-mail กับ Gmail
ขั้นตอนการลงทะเบียนเพื่อสร้าง e-mail ครั้งแรกและการใช้งานเบื้องต้น มีขั้นตอนดังนี้
1. เปิดเว็บไซต์ Gmail
2. กรอกรายละเอียดแบบฟอร์มการลงทะเบียน
กรอกชื่อเว็บไซต์ www.gmail.com หรือ gmail.com เพื่อเปิดเว็บไซต์ 2
กรอกชื่อการเข้าสู่ระบบที่ต้องการเป็นภาษาอังกฤษ ต้องไม่ซ้ำกับคนอื่นที่ลงทะเบียนก่อนเรา สามารถตรวจสอบชื่อที่กรอก โดยการคลิกปุ่ม ตรวจดูว่ามีหรือไม่ ถ้ามีผู้ใช้แล้ว ต้องเปลี่ยนชื่อใหม่หรือเลือกเมื่อกรอกรายละเอียดครบถ้วนแล้วให้คลิกปุ่ม ฉันยอมรับ โปรดสร้างบัญชีของฉัน เพื่อให้ระบบทำการสร้าง e-mail โดยจะต้องจำชื่อผู้ใช้ที่ใช้เข้าสู่ระบบ และรหัสผ่านไว้ เพื่อใช้เปิด e-mail ครั้งต่อไป
รหัสผ่านเป็นภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรือผสมกันก็ได้ ไม่น้อยกว่า 6 ตัวอักษร โดยกรอกให้เหมือนกันทั้ง2ครั้ง เพื่อเป็นการยืนยัน และผู้ลงทะเบียนต้องจำรหัสผ่านนี้ไว้ (ควรจดใส่กระดาษบันทึกไว้) เมื่อลงทะเบียนถูกต้องและสร้าง e-maiได้ ระบบจะแสดงข้อความยินดีต้อนรับ และแนะนำคุณสมบัติเด่นของ Gmail (ดังรูป) ให้เลื่อนจอภาพไปด้านล่าง แล้วเลือกปุ่ม แจ๋วเลยไปที่กล่องจดหมาย เพื่อเปิดตู้จดหมายหรือกล่องจดหมายของเราได้ทันทีคลิกเลือกปุ่มเพื่อเปิดตู้จดหมายของเรา
3. ลงทะเบียนและสร้าง e-mail เรียบร้อย
4. การใช้ตู้จดหมายของ Gmail
กรณีที่ต้องการส่งจดหมายหรือเขียนจดหมาย
คลิกเพื่ออ่านจดหมายที่ส่งมา
คลิกเพื่อเขียนจดหมายใหม่ ส่งให้ผู้รับ
ให้เลือกคำสั่ง เขียนจดหมาย เพื่อกรอกรายละเอียดที่สำคัญ คือ e-mail address ของผู้รับ, ชื่อหัวเรื่องจดหมาย, เลือกชื่อไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลที่ต้องการแนบ และรายละเอียดเนื้อหาจดหมาย เมื่อเปิดตู้จดหมายของ Gmail ได้แล้ว จะแสดงรายละเอียดเป็นภาษาไทย (ขณะนี้มีจดหมาย 1 ฉบับ จากผู้ส่งคือ ทีมงาน Gmail ชื่อหัวเรื่องจดหมายคือ Gmail ไม่เหมือนใคร, นี่คือสิ่งที่คุณควรต้องรู้ ) ถ้าต้องการเปิดจดหมายให้เลือกคลิกที่ชื่อหัวเรื่องจดหมายได้เลย
เมื่อคลิกเลือก ลงทะเบียนใช้ Gmail จากขั้นตอนที่ 1 แล้ว จะแสดงแบบฟอร์มการลงทะเบียนเป็นภาษาไทย ผู้ใช้ต้องกรอกข้อมูลให้ครบถ้วนและถูกต้อง Click เพื่อลงทะเบียนสร้าง e-mail กับ Gmail

วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่

ทฤษฎีใหม่
- เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน
- ต้องมีพื้นที่ส่วนหนึ่งทำนาข้าว เพราะข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนต้องปลูก เพื่อให้มีข้าวพอบริโภคตลอดทั้งปี
- ต้องมีน้ำสำรองไว้ใช้เพียงพอตลอดปี เพื่อการเพาะปลูกในระยะฝนทิ้งช่วง หรือในฤดูแล้ง
- ใช้อัตราส่วน
30 : 30 : 30 : 10 ในการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ไม่ว่าจะมีพื้นที่ถ์อครองน้อยกว่าหรือมากกว่า 15 ไร่ คือ
30  % ใช้ขุดสระเก็บกักน้ำ
30  %  ใช้ปลูกข้าว
30  %  ใช้ปลูกพืชผัก ผลไม้ พืชไร่ ไม้ยืนต้น
10  %   ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆ

วันจันทร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2553

หลักธรรมามภิบาล

หลักธรรมาภิบาล

หลักธรรมาภิบาล มีองค์ประกอบที่สาคัญ  6 ประการดังนี้
1. หลักนิติธรรม
2. หลักคุณธรรม
3. หลักความโปร่งใส 5. หลักความรับผิดชอบ
4. หลักความมีส่วนร่วม
6. หลักความคุ้มค่า
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล มีองค์ประกอบที่สาคัญ
6 ประการ
1.
หลักนิติธรรม
2.
หลักคุณธรรม
3.
หลักความโปร่งใส4.
5.
6. หลักความคุ้มค่า
หลักความรับผิดชอบ
หลักความมีส่วนร่วม

บทนำแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง

เทคโนโลยีสารสนเทศกับวิถีเศรษฐกิจพอเพียง  
 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลง
 1.  ความพอประมาณ
 2.  ความมีเหตุผล
 3.  การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

เทคโนโลยีสารสนเทศกับวิถีเศรษฐกิจพอเพียง  
 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


           
เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติ บนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้
            1.  ความพอประมาณ
            2.  ความมีเหตุผล
            3.  การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้ด้าน ICT โดยมุ่งให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความพอประมาณ , ความมีเหตุผล , และความจำเป็นจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ดังนี้  
            1.  การนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ในกิจการของผู้ประกอบการ เพื่อลดต้นทุน ขยาย และเพิ่มส่วนแบ่งตลาด รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของผลิตภัณฑ์ และให้บริการในการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีการป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพให้กับลูกค้า
            2.  การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหาร และการให้บริการของภาครัฐ
            3.  การพัฒนา













“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลง